ประกันคุณภาพ 2561

ประกันคุณภาพ 2561

ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน

สำนักบริการวิชาการ

ประจำปีการศึกษา 2561

( 1 มิถุนายน 2561 – 31 พฤษภาคม 2562 )

ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน  รายกลุ่มตัวบ่งชี้

กลุ่มตัวบ่งชี้ ผลการประเมิน (คะแนนเต็ม)
ประเมินตนเอง คณะกรรมการประเมิน
กลุ่มตัวบ่งชี้ร่วม 4.86 4.95
กลุ่มตัวบ่งชี้ตามภารกิจ 4.75 4.86
คะแนนเฉลี่ยทุกกลุ่มตัวบ่งชี้ 4.80 4.89
ผลการประเมิน ดีมาก ดีมาก

เกณฑ์การประเมิน

ช่วงคะแนน ผลการประเมิน
0.00 – 1.50 การดำเนินงานต้องปรับปรุงเร่งด่วน
1.51 – 2.50 การดำเนินงานต้องปรับปรุง
2.51 – 3.50 การดำเนินงานระดับพอใช้
3.51 – 4.50 การดำเนินงานระดับดี
4.51 – 5.00 การดำเนินงานระดับดีมาก

ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน รายตัวบ่งชี้

ตัวบ่งชี้คุณภาพ เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน คะแนนการประเมิน
ตัวตั้ง ผลลัพธ์
(%  หรือสัดส่วน)
ตัวหาร
กลุ่มตัวบ่งชี้ร่วม
ตัวบ่งชี้ที่ 1.1  กระบวนการพัฒนาแผน 8 ข้อ 8 ข้อ 5
ตัวบ่งชี้ที่ 1.2  ภาวะผู้นำของคณะกรรมการประจำสันนัก และผู้บริหารของสำนัก 6 ข้อ 6 ข้อ 5
ตัวบ่งชี้ที่ 1.3  การปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่ของผู้บริหารสำนัก ระดับ 4 4.63 4.63
ตัวบ่งชี้ที่ 1.4  การพัฒนาหน่วยงานสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้ 5 ข้อ 5 ข้อ 5
ตัวบ่งชี้ที่ 1.5  ระบบบริหารความเสี่ยง 6 ข้อ 6 ข้อ 5
ตัวบ่งชี้ที่ 1.6  ระบบและกลไกการเงินและงบประมาณ 7 ข้อ 7 ข้อ 5
ตัวบ่งชี้ที่ 1.7  ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน 9 ข้อ 9 ข้อ 5
คะแนนเฉลี่ยกลุ่มตัวบ่งชี้ร่วม (ผลการประเมิน) 4.95
กลุ่มตัวบ่งชี้ตามภารกิจ
ตัวบ่งชี้ที่ 2.1  ระดับความพึงพอใจของผู้รับริการ ระดับ 4 4.74 5
ตัวบ่งชี้ที่ 2.2  ระบบการพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุน 7 ข้อ 7 ข้อ 5
ตัวบ่งชี้ที่ 2.3  ร้อยละของบุคลากรที่ได้รับการพัฒนาความรู้และทักษะในวิชาชีพ ร้อยละ 100 7 100 5
7
ตัวบ่งชี้ที่ 2.4  ระดับความพึงพอใจของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มีต่อสภาพภูมิทัศน์และสิ่งแวดล้อมของหน่วยงาน ระดับ 4 4.85 4.85
ตัวบ่งชี้ที่ 2.5  ร้อยละของการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ ร้อยละ 80 13 86 4
15
ตัวบ่งชี้ที่ 2.25  ร้อยละการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ ร้อยละ 80 8 100 5
8
ตัวบ่งชี้ที่ 2.26  ระดับความสำเร็จของโครงการที่เสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนหรือท้องถิ่น 5 ข้อ 5 ข้อ 5
ตัวบ่งชี้ที่ 2.27  การบริการวิชาการแก่สังคม 6 ข้อ 6 ข้อ 5
คะแนนเฉลี่ยกลุ่มตัวบ่งชี้ตามภารกิจ (ผลการประเมิน) 4.86
คะแนนเฉลี่ยทุกกลุ่มตัวบ่งชี้ (ผลการประเมิน) 4.89

เกณฑ์การประเมิน

ช่วงคะแนน ผลการประเมิน
0.00 – 1.50 การดำเนินงานต้องปรับปรุงเร่งด่วน
1.51 – 2.50 การดำเนินงานต้องปรับปรุง
2.51 – 3.50 การดำเนินงานระดับพอใช้
3.51 – 4.50 การดำเนินงานระดับดี
4.51 – 5.00 การดำเนินงานระดับดีมาก

จุดเด่นภาพรวมของสำนักบริการวิชาการ

  1. มีการบรูณาการกับแผนยุทธศาสตร์ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แผนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏ และแผนยุทธศาสตร์สำนัก รวมถึงแผนยุทธศาสตร์จังหวัด ทำให้มีความสอดคล้องและครอบคลุมตามแนวนโยบายการปฏิบัติงานทุกระดับ
  2. สำนักได้รับงบประมาณจากหน่วยงานภายนอกที่ใช้ในการผลักดันยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัย
  3. มีการจัดกิจกรรมที่ตอบตัวชี้วัดตามแผนยุทธศาสตร์ ที่หลากหลายภายในหนึ่งโครงการ เพื่อใช้งบประมาณให้เกิดประโยชน์สูงสุด
  4. ผู้บริหารและบุคลากรมีการทำงานเป็นทีม เห็นได้ชัดจากการทำงานร่วมการ ร่วมถึงการลงพื้นที่ชุมชน มีการแบ่งงานที่ชัดเจน

ข้อเสนอแนะภาพรวมของสำนักบริการวิชาการ

  1. ควรมีการวางแผนงบประมาณจากภายนอกในระยะยาว
  2. ควรมีการกำหนดกลุ่มเป้าหมายของผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสีย ในการตอบแบบสอบถามเพิ่มมากขึ้น จากกลุ่ม เช่น ผู้ใช้บริการห้องสำนักงาน ผู้ใช้บริการห้องประชุม
  3. ควรส่งเสริมเกษตรกรให้สามารถเป็นวิทยากรตัวคูณได้ เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้ที่ได้รับสู่ชุมชนหรือเครือข่ายอื่น ๆ ได้