ประกันคุณภาพ 2563

ประกันคุณภาพ 2563

ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน

สำนักบริการวิชาการ

ประจำปีการศึกษา 2563

( วงรอบ 1 มิถุนายน 2563 – 31 พฤษภาคม 2564 )

ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน  รายกลุ่มตัวบ่งชี้

กลุ่มตัวบ่งชี้ ผลการประเมิน (คะแนนเต็ม)
ประเมินตนเอง คณะกรรมการประเมิน
กลุ่มตัวบ่งชี้ร่วม 4.89 4.74
กลุ่มตัวบ่งชี้ตามภารกิจ 4.93 4.81
คะแนนเฉลี่ยทุกกลุ่มตัวบ่งชี้ 4.96 4.77
ผลการประเมิน ดีมาก ดีมาก

เกณฑ์การประเมิน

ช่วงคะแนน ผลการประเมิน
0.00 – 1.50 การดำเนินงานต้องปรับปรุงเร่งด่วน
1.51 – 2.50 การดำเนินงานต้องปรับปรุง
2.51 – 3.50 การดำเนินงานระดับพอใช้
3.51 – 4.50 การดำเนินงานระดับดี
4.51 – 5.00 การดำเนินงานระดับดีมาก

ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน รายตัวบ่งชี้

ตัวบ่งชี้คุณภาพ เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน คะแนนการประเมิน
ตัวตั้ง ผลลัพธ์
(%  หรือสัดส่วน)
ตัวหาร
กลุ่มตัวบ่งชี้ร่วม
ตัวบ่งชี้ที่ 1.1  กระบวนการพัฒนาแผน 8 ข้อ 8 ข้อ 5
ตัวบ่งชี้ที่ 1.2  ภาวะผู้นำของคณะกรรมการประจำสันนัก และผู้บริหารของสำนัก 6 ข้อ 7 ข้อ 5
ตัวบ่งชี้ที่ 1.3  การปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่ของผู้บริหารสำนัก ระดับ 4.5 4.89 4.89
ตัวบ่งชี้ที่ 1.4  การพัฒนาหน่วยงานสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้ 4 ข้อ 5 ข้อ 5
ตัวบ่งชี้ที่ 1.5  ระบบบริหารความเสี่ยง 6 ข้อ 6 ข้อ 5
ตัวบ่งชี้ที่ 1.6  ระบบและกลไกการเงินและงบประมาณ 7 ข้อ 6 ข้อ 4
ตัวบ่งชี้ที่ 1.7  ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน 8 ข้อ 7 ข้อ 4
ตัวบ่งชี้ที่ 1.8  ความสำเร็จของการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบริการข้อมูลสาธารณะ 3 ข้อ 5ข้อ 5
คะแนนเฉลี่ยกลุ่มตัวบ่งชี้ร่วม (ผลการประเมิน) 4.74
กลุ่มตัวบ่งชี้ตามภารกิจ
ตัวบ่งชี้ที่ 2.1  ระดับความพึงพอใจของผู้รับริการ ระดับ 4.5 4.7 4.70
ตัวบ่งชี้ที่ 2.2  ระบบการพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุน 7 ข้อ 6 ข้อ 4
ตัวบ่งชี้ที่ 2.3  ร้อยละของบุคลากรที่ได้รับการพัฒนาความรู้และทักษะในวิชาชีพ ร้อยละ 100 9 x100=100 5
9
ตัวบ่งชี้ที่ 2.4  ระดับความพึงพอใจของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มีต่อสภาพภูมิทัศน์และสิ่งแวดล้อมของหน่วยงาน ระดับ 4.5 4.76 4.76
ตัวบ่งชี้ที่ 2.5  ร้อยละของการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ 4 19 x100=100 5
19
ตัวบ่งชี้ที่ 2.27  ร้อยละจำนวนโครงการบริการวิชาการที่ดำเนินการ ร้อยละ 80 10 x100=100 5
10
ตัวบ่งชี้ที่ 2.28  ระดับความสำเร็จของโครงการที่เสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนหรือท้องถิ่น 4 ข้อ 5 ข้อ 5
ตัวบ่งชี้ที่ 2.29  ระดับและกลไกการพัฒนาเสริมสร้างความสัมพันธ์กับชุมชน 5 ข้อ 6 ข้อ 5
คะแนนเฉลี่ยกลุ่มตัวบ่งชี้ตามภารกิจ (ผลการประเมิน) 4.81
คะแนนเฉลี่ยทุกกลุ่มตัวบ่งชี้ (ผลการประเมิน) 4.77

เกณฑ์การประเมิน

ช่วงคะแนน ผลการประเมิน
0.00 – 1.50 การดำเนินงานต้องปรับปรุงเร่งด่วน
1.51 – 2.50 การดำเนินงานต้องปรับปรุง
2.51 – 3.50 การดำเนินงานระดับพอใช้
3.51 – 4.50 การดำเนินงานระดับดี
4.51 – 5.00 การดำเนินงานระดับดีมาก

จุดเด่นภาพรวมของสำนักบริการวิชาการ

กลุ่มตัวบ่งชี้ร่วม

  1. ผู้บริหารและคณะกรรมการประจำสำนักบริการวิชาการ มีภาวะผู้นำสูงส่งผลให้มีผลการพัฒนาคุณภาพตัวบ่งชี้รวมมีคุณภาพระดับดีมาก 4.74 โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องการพัฒนาหน่วยงานสู่องค์การแห่งการเรียนรู้ และได้รับรางวัลจากการประกวดผลงาน QA_KM Day ใน 2 ประเด็น คือ ด้านการพัฒนาท้องถิ่น (รางวัลชนะเลิศอันดับที่ 1)และด้านการวิจัย (รางวัลชนะเลิศอันดับที่ 1)

กลุ่มตัวบ่งชี้ตามภาระกิจ

  1. สำนักบริการวิชาการ มีความมุงมั่นในการพัฒนาโครงการเสริมสรา้งความเข้มแข็งของชุมชนและท้องถิ่น และระบบกลไกการพัฒนาเสริมสร้างความสัมพันธ์กับชุมชนและท้องถิ่นอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้สำนักฯ มีโครงการบริการวิชาการที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาชุมชนและท้องถิ่นอย่างเป็นรูปธรรม

ข้อเสนอแนะภาพรวมของสำนักบริการวิชาการ

กลุ่มตัวบ่งชี้ร่วม

  1. การดำเนินงานระบบกลไกการเงินและงบประมาณยังมีประเด็นที่ควรพัฒนาปรับปรุงได้แก่ การใช้กลไกการประชุมของกรรมการประจำสำนักในการกำกับติดตามระบบการเงินและงบประมาณ ดังนั้นสำนักบริการวิชาการควรกำหนดให้มีวาระการประชุมเรื่องการบริหารจัดการงบประมาณเป็นประจำ ตลอดจนให้มีการวิเคราะห์สภาพทางการเงินและความมั่นคงของสำนักฯ และนำข้อมูลจากการรายงานทางการเงินไปวางแผนในการตัดสินใจบริหารการเงินและงบประมาณอย่างต่อเนื่อง

กลุ่มตัวบ่งชี้ตามภาระกิจ

  1. ระบบและกลไกการพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุนยังไม่เป็นรูปธรรมเท่าที่ควร ดังนั้นสำนักฯ ควรให้ความสำคัญกับการกำหนดผลลัพธ์ และค่าเป้าหมายของแผนพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุนให้มีความท้าทายเพิ่มขึ้น ตลอดจนกำหนดวิธีการดำเนินงานที่มีประสิทธิภาพและเป็นรูปธรรมมากยิ่งขึ้น